รายชื่อเรื่อง
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
ฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ
ฉบับกาญจนาภิเษก
ฉบับเสริมการเรียนรู้
สารานุกรม
หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๑๖ จนถึงปัจจุบัน

(สำหรับหนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่ม ๑-๑๑ เลิกผลิตและไม่มีจำหน่ายแล้ว)
มีรายละเอียดดังนี้
รายชื่อเรื่อง และผู้เขียนเรื่องในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ :
๑๐
๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐
๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐
๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐
๔๑ ๔๒ ๔๓



เล่มที่ ๕ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๓ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง คือ
ผัก | ไม้ผล | อ้อย | มันสำปะหลัง | พืชหัว | การขยายพันธุ์พืช | เป็ดไก่ | พันธุ์ไม้ป่า
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๙ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๒๘ มีทั้งหมด ๑๓ เรื่อง คือ
เรื่องของยา | สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา | วิธีการทางการแพทย์ในการควบคุมการเจริญพันธุ์ | การทำแท้ง | การสาธารณสุข | โรคมะเร็ง | รังสีวิทยา | ฟันและเหงือกของเรา | เวชศาสตร์ชันสูตร | เวชศาสตร์ฟื้นฟู | นิติเวชศาสตร์ | โภชนาการ | ยาเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๑๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๑ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง คือ
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ | ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ | ระบบการสั่งงานคอมพิวเตอร์ | การประยุกต์คอมพิวเตอร์ | การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ | สิ่งประดิษฐ์จากพัฒนาการด้านคอมพิวเตอร์ | หุ่นยนต์อุตสาหกรรม | ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ | การพัฒนาอักษรไทยในเครื่องคอมพิวเตอร์
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๑๖ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
การบูรณะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม | พระไตรปิฎกและการชำระพระไตรปิฎก | การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ | ศิลาจารึกและการอ่านจารึก | สังคมและวัฒนธรรมไทย | การผลิตหนังสือ | การดนตรีสำหรับเยาวชน | การช่างและหมู่บ้านช่าง | ดาวเทียมเพื่อการเกษตร | การฟื้นฟูสมรรถภาพเยาวชนผู้พิการทางด้านการศึกษา
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๑๘ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๗ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
สภาพแวดล้อมกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในประเทศไทย | ประเพณีหลวงและประเพณีราษฎร์ | การแต่งกายของคนไทย | กฎหมายกับสังคมไทย | ประวัติการพิมพ์ไทย | ภาษาและอักษรไทย | ยาฆ่าแมลง | ดินและปุ๋ย | การเลี้ยงหมู | ระบบการค้าผลิตผลการเกษตร
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๒๐ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๓๘ มีทั้งหมด ๑๐ เรื่อง คือ
ศาสนาและระบบความเชื่อในประเทศไทย | ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับต่างประเทศ | จิตรกรรมไทยแบบประเพณี | เสียงและมลภาวะทางเสียง | เลเซอร์ | เซลล์แสงอาทิตย์ | อัญมณี | เวชศาสตร์การบิน | กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมหรือโรคเอดส์ | การปลูกถ่ายอวัยวะ
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๒๕ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๔ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง
ซอฟต์แวร์พื้นฐานสำหรับสำนักงาน | ระบบฐานข้อมูล | วิวัฒนาการของไมโครคอมพิวเตอร์ | การพัฒนาซอฟต์แวร์ | โครงข่ายประสาทเทียม | อินเทอร์เน็ต | การประยุกต์ใช้ภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ | แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๔๑ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๙ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ประเพณีลอยกระทง | ละครดึกดำบรรพ์ | โนรา | ภูมิลักษณ์เด่นในประเทศไทย | ทะเลไทย | ชา |
วัสดุทางวิศวกรรมกับการกีฬา | เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ | โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๔๒ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๖๔ มีทั้งหมด ๙ เรื่อง
ประเพณีของชาวไทยมุสลิม | หนังตะลุง | หญ้าแฝก | แมว | มลพิษของดินและการเกษตร | แสงซินโครตรอน | อาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ | จิตวิทยาพัฒนาการเด็กและวัยรุ่น | โรคมะเร็งในเด็ก
รายชื่อผู้เขียน
เล่มที่ ๔๓ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๖๖ มีทั้งหมด ๘ เรื่อง
ประเพณีสิบสองเดือน | ชาวมอญในประเทศไทย | การศึกษาแบบวิถีไทย | กัญชงและกัญชา |
การเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน | การบริหาจัดการลุ่มน้ำโดยชุมชน | ดาราจักร | โรคหลอดเลือดสมอง
รายชื่อผู้เขียน
หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี
หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ จัดทำขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ โดยประมวลพระราชจริยาวัตร พระราชกรณียกิจ และพระปรีชาสามารถในด้านต่างๆ อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและอาณาประชาราษฎร์ พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้
๑. ธรรมิกราชา
๒. พระปรีชาสามารถด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม
๓. เศรษฐกิจพอเพียง
๔. กษัตริย์-เกษตร
๕. พระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
๖. พระปรีชาสามารถด้านการพัฒนาปัญญา
๗. อัครศิลปิน
๘. พระราชกรณียกิจด้านการสืบสานวัฒนธรรมและขนบประเพณี
๙. สังคมสมานฉันท์

สามารถค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากหนังสือสารานุกรมไทย ฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ
 
หนังสือ สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก
พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๒ มีทั้งหมด ๖๐ เรื่องโดยแบ่งเป็น ๙ หมวด คือ
หมวดที่ ๑ พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจสำคัญ
หมวดที่ ๒ พระราชวงค์
หมวดที่ ๓ องค์กรและส่วนราชการ
หมวดที่ ๔ มูลนิธิ ทุน รางวัล และโรงเรียน
หมวดที่ ๕ พระราชสถานะและพระราชอำนาจตามรัฐ ธรรมนูญ
หมวดที่ ๖ ราชธรรมและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศาสนา
หมวดที่ ๗ พระราชพิธีในรัชกาลปัจจุบัน
หมวดที่ ๘ พระบรมราชสัญลักษณ์และเรื่องราวเกี่ยว ข้อง
หมวดที่ ๙ เบ็ตเตล็ด
สามารถค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากหนังสือสารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก